>>>สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ยินดีต้อนรับ ข้อมูลสารสนเทศการประกันคุณภาพ ของ สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556

เกณฑ์ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชาประจำปีการศึกษา 2555

ตาม ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มีการแบ่งเกณฑ์ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินภายในไว้ทั้งหมด 23 ตัวบ่งชี้ แต่เนื่องจากสาขาวิชาสังคมศึกษา ไม่มีการเรียนการสอนระดับปริญญาโท จึงไม่นับตัวบ่งชี้ที่ 14 สามารถจำแนกตัวบ่งชี้ออกมาเป็น 22 ตัวบ่งชี้ ใน 4 องค์ประกอบดังนี้

ตารางแสดง เกณฑ์ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชาประจำปีการศึกษา 2555 
ตัวบ่งชี้ที่
ชื่อตัวบ่งชี้
หมายเหตุ
1. องค์ประกอบคุณภาพด้านการบริหารจัดการ มีตัวบ่งชี้ จำนวน 5 ตัวบ่งชี้
1
ร้อยละของกิจกรรม/โครงการของสาขาวิชาที่บรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของโครงการในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของคณะ

2
สารสนเทศเพื่อการบริหารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

3
ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณของสาขาวิชาตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของคณะ

4
ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการประกันคุณภาพภายใน

5
ผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ

2. องค์ประกอบคุณภาพด้านคุณภาพบัณฑิต มีตัวบ่งชี้ จำนวน 12 ตัวบ่งชี้
6
การพัฒนาและบริหารหลักสูตร

7
การพัฒนาคณาจารย์

8
การจัดการเรียนการสอน

9
การพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

10
ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา

11
ร้อยละของบัณฑิตที่เข้ามากรอกข้อมูลภาวะของการมีงานทำ

12
บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

13
คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

14
ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
-ไม่มี-
15
กลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร

16
กลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา

17
กลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

3. องค์ประกอบคุณภาพด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ มีตัวบ่งชี้ จำนวน 4 ตัวบ่งชี้
18
การบูรณาการกระบวนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอน

19
เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

20
งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

21
งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์

4. องค์ประกอบคุณภาพด้านการบริการวิชาการ มีตัวบ่งชี้ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้
22
กลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม

23
ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ใน      การพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย

สรุปคะแนนประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2554 (ส่วนที่ 2/2)

ตารางที่ 2  ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชา ปีการศึกษา 2554 จำแนกตามสาขาวิชา
องค์ประกอบ
คะแนนประเมิน สาขาวิชา
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ภาษา
ไทย
ภาษาไทย
และ
การสื่อสาร
ออกแบบ
ประยุกต์
ศิลป์
ภาษา
อังกฤษ
ดนตรี
รปศ.
สังคม
ศึกษา
พัฒนา
ชุมชน
นิติ
ศาสตร์
ภาษา
จีน
รปม.
ด้านการบริหารจัดการ
4.50
4.52
4.84
3.72
4.73
4.51
3.46
4.66
4.66
4.75
4.41
ด้านคุณภาพบัณฑิต
4.46
4.39
4.69
4.39
4.15
3.82
3.66
4.44
3.80
4.49
4.01
ด้านงานวิจัยและ
งานสร้างสรรค์
2.50
3.50
5.00
2.78
3.27
3.50
2.58
2.23
3.82
3.50
4.38
ด้านการบริการวิชาการ
5.00
5.00
5.00
5.00
3.50
3.50
4.00
3.50
3.50
5.00
-
รวมทุกตัวบ่งชี้ขององค์ประกอบ
4.16
4.31
4.81
4.00
4.06
3.89
3.45
4.00
3.97
4.41
4.23
ระดับดี
ระดับดี
ระดับ
ดีมาก
ระดับ
ดี
ระดับ
ดี
ระดับ
ดี
ระดับพอใช้
ระดับ
ดี
ระดับดี
ระดับ
ดี
ระดับ
ดี


จากตารางผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของสาขาวิชา ระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  ปีการศึกษา 2554 โดยรวมแสดงให้เห็นว่าสาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์ มีการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับดีมาก ผลประเมินสูงสุด คือ 4.81 รองลงมาคือสาขาวิชาภาษาจีน มีการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับดี ผลการประเมิน 4.41 และสาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสาร มีการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับดี ผลการประเมิน 4.31 ตามลำดับ

จากตารางผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของสาขาวิชา ระดับปริญญาโท คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 ปีการศึกษา 2554 โดยรวม สาขาวิชามีการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับดี โดยองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการ มีผลการประเมินสูงสุด คือ 4.41 รองลงมาองค์ประกอบด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ มีผลการประเมิน คือ 4.38 และองค์ประกอบด้านคุณภาพบัณฑิต มีผลการประเมิน คือ 4.01 ตามลำดับ
              
กลับไปยังส่วนที่ 1 ที่ลิงค์ http://sociallpruassessment.blogspot.com/2013/04/2554-12.html

สรุปคะแนนประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2554 (ส่วนที่ 1/2)



จากการดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชา ปีการศึกษา 2554 มีผลการประเมิน ดังนี้

     ตารางที่ 1  ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ จำแนกตามสาขาวิชา
ตัวบ่งชี้คุณภาพ
คะแนนประเมิน / สาขาวิชา
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ภาษาไทย
ภาษาไทยและ
การสื่อสาร
ออกแบบ
ประยุกต์ศิลป์
ภาษา
อังกฤษ
ดนตรี
รปศ.
สังคมศึกษา
พัฒนาชุมชน
นิติศาสตร์
ภาษา
จีน
รปม.
องค์ประกอบคุณภาพด้านการบริหารจัดการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1
3.33
3.33
5.00
0.00
4.38
3.75
0.00
5.00
4.38
4.44
-
ตัวบ่งชี้ที่ 2
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
3.00
4.00
5.00
5.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3
4.88
5.00
4.93
4.32
5.00
4.51
5.00
5.00
4.61
5.00
3.36
ตัวบ่งชี้ที่ 4
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
4.29
องค์ประกอบคุณภาพด้านคุณภาพบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 7
1.85
1.88
2.92
1.44
1.94
1.67
2.11
1.67
2.28
1.19
4.38
ตัวบ่งชี้ที่ 8
4.00
4.00
4.00
4.00
2.00
2.00
1.00
5.00
3.00
5.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 9
5.00
4.00
5.00
5.00
5.00
5.00
4.00
5.00
5.00
5.00
-
ตัวบ่งชี้ที่ 10
4.00
4.00
5.00
4.00
4.00
5.00
4.00
5.00
4.00
5.00
-
ตัวบ่งชี้ที่ 11
5.00
5.00
5.00
4.67
5.00
4.25
4.67
4.87
5.00
4.56
-
ตัวบ่งชี้ที่ 12
4.62
5.00
5.00
4.64
3.16
2.47
4.82
2.63
2.83
4.00
-
ตัวบ่งชี้ที่ 13
4.60
ไม่ขอรับการประเมิน
4.63
4.54
4.59
4.60
4.64
4.63
4.64
4.59
4.70
ตัวบ่งชี้ที่ 14
ไม่มีการเรียนการสอนในระดับปริญญาโท
0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 15
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
3.00
5.00
3.00
5.00
-
ตัวบ่งชี้ที่ 16
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
4.00
4.00
5.00
4.00
5.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 17
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
3.00
3.00
5.00
3.00
5.00
-
องค์ประกอบคุณภาพด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 18
5.00
4.00
5.00
5.00
4.00
4.00
2.00
4.00
4.00
4.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 19
5.00
5.00
5.00
2.07
4.89
5.00
5.00
2.40
5.00
5.00
5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 20
0.00
0.00
5.00
0.81
0.00
0.00
0.00
2.50
2.09
0.00
2.50
ตัวบ่งชี้ที่ 21
0.00
5.00
5.00
3.23
4.17
5.00
3.33
0.00
4.17
5.00
5.00
องค์ประกอบคุณภาพด้านการบริการวิชาการ
ตัวบ่งชี้ที่ 22
5.00
5.00
5.00
5.00
2.00
2.00
3.00
2.00
2.00
5.00
-
ตัวบ่งชี้ที่ 23
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
5.00
-
เฉลี่ยคะแนนรวม
ทุกตัวบ่งชี้

91.57
90.50
105.77
88.01
89.42
85.54
75.86
87.99
87.29
97.07
59.23
4.16
4.31
4.81
4.00
4.06
3.89
3.45
4.00
3.97
4.41
4.23
ระดับดี
ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดี
ระดับดี
พอใช้
ระดับดี
ระดับดี
ระดับดี
ระดับดี


อ่านต่อ ส่วนที่ 2 ในลิงค์ http://sociallpruassessment.blogspot.com/2013/04/2554-22.html