>>>สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ยินดีต้อนรับ ข้อมูลสารสนเทศการประกันคุณภาพ ของ สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556

เกณฑ์ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชาประจำปีการศึกษา 2555

ตาม ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มีการแบ่งเกณฑ์ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินภายในไว้ทั้งหมด 23 ตัวบ่งชี้ แต่เนื่องจากสาขาวิชาสังคมศึกษา ไม่มีการเรียนการสอนระดับปริญญาโท จึงไม่นับตัวบ่งชี้ที่ 14 สามารถจำแนกตัวบ่งชี้ออกมาเป็น 22 ตัวบ่งชี้ ใน 4 องค์ประกอบดังนี้

ตารางแสดง เกณฑ์ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชาประจำปีการศึกษา 2555 
ตัวบ่งชี้ที่
ชื่อตัวบ่งชี้
หมายเหตุ
1. องค์ประกอบคุณภาพด้านการบริหารจัดการ มีตัวบ่งชี้ จำนวน 5 ตัวบ่งชี้
1
ร้อยละของกิจกรรม/โครงการของสาขาวิชาที่บรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของโครงการในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของคณะ

2
สารสนเทศเพื่อการบริหารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

3
ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณของสาขาวิชาตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของคณะ

4
ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการประกันคุณภาพภายใน

5
ผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ

2. องค์ประกอบคุณภาพด้านคุณภาพบัณฑิต มีตัวบ่งชี้ จำนวน 12 ตัวบ่งชี้
6
การพัฒนาและบริหารหลักสูตร

7
การพัฒนาคณาจารย์

8
การจัดการเรียนการสอน

9
การพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

10
ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา

11
ร้อยละของบัณฑิตที่เข้ามากรอกข้อมูลภาวะของการมีงานทำ

12
บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

13
คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

14
ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
-ไม่มี-
15
กลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร

16
กลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา

17
กลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

3. องค์ประกอบคุณภาพด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ มีตัวบ่งชี้ จำนวน 4 ตัวบ่งชี้
18
การบูรณาการกระบวนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอน

19
เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

20
งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

21
งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์

4. องค์ประกอบคุณภาพด้านการบริการวิชาการ มีตัวบ่งชี้ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้
22
กลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม

23
ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ใน      การพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น